วันอาทิตย์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่8

สารานุกรมปรัชญาออนไลน์ฉบับสังเขป
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สนับสนุนโครงการ





กรรมและวิบาก
กลุ่มทฤษฎีจริยศาสตร์ที่เน้นพิจารณาผลการกระทำ / อันตวิทยา
ก่อนประสบการณ์ - หลังประสบการณ์
การอ้างเหตุผลยืนยันการมีอยู่ของพระเจ้า
การเดินทางข้ามเวลา
การเป็นสาเหตุ
การให้เหตุผลสนับสนุนความเชื่อ


ขงจื่อ (โปรดดู ปรัชญาสำนักขงจื่อ)


ความชั่วร้าย, ปัญหา (โปรดดู ปัญหาความชั่วร้าย)
ความรู้
ความเป็นผู้กำหนดตนเอง
ความเสมอภาค


จริยศาสตร์คุณธรรม
จริยศาสตร์เชิงหน้าที่


ซีโน (โปรดดู ปฏิทรรศน์ของซีโน)
เซ็น (โปรดดู พุทธปรัชญาเซ็น)


ญาณวิทยาศาสนา


ตรัสรู้ / โพธิญาณ
เต๋า, ปรัชญาสำนัก (โปรดดู ปรัชญาสำนักเต๋า)


ทุกข์


ธรรม/ สัจธรรม


นิพพาน


ปฏิทรรศน์ของซีโน
ปรัชญาประวัติศาสตร์
ปรัชญาสำนักขงจื่อ
ปรัชญาสำนักเต๋า
ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาเทคโนโลยี
ประชาธิปไตย
ประสบการณ์นิยม - เหตุผลนิยม (โปรดดู เหตุผลนิยม - ประสบการณ์นิยม)
ปรากฏการณ์วิทยา
ปัญหาความชั่วร้าย


พระเจ้า (โปรดดู การอ้างเหตุผลยืนยันการมีอยู่ของพระเจ้า)
พุทธปรัชญาเซ็น
โพธิญาณ


วิญญาณ/ จิต


ศาสนากับจริยธรรม
ศีล


สิทธิ
สาเหตุ (โปรดดู การเป็นสาเหตุ)


หลักทางสายกลาง
เหตุผลนิยม - ประสบการณ์นิยม


อนัตตา/ สุญญตา
อภิจริยศาสตร์
อเทวนิยม
อัชฌัตติกญาณนิยมเชิงจริยศาสตร์
อัตถิภาวะนิยม
อัตนิยมและปรัตถนิยม
อันตวิทยา
อินเดีย, ปรัชญา (โปรดดู ปรัชญาอินเดีย)


เฮอร์เมนูติกส์

A
A Priori - A Posteriori
Aesthetics
Analytic - synthetic distinction
Atheism
Autonomy
Awakening

B
Buddhist Philosophy

C
Causation
Change
Chinese Philosophy
Confucianism
Consequentialism / Teleology
Critical Theory

D
Daoism
Democracy
Deontological Ethics

E
Egoism and Altruism
Empiricism - Rationalism (โปรดดู Rationalism - Empiricism)
Enlightenment / Awakening
Epistemic Justificaltion
Epistemology
Epistemology of Religion
Equality
Essentialism
Ethical Relativism
Ethical Intuitionism
Ethics
Evil, the Problem of (โปรดดู The Problem of Evil)
Existentialism

F
Feminist Ethics
Feminist Epistemology
Feminist Philosophy
Freedom
Freewill and Determinism

G
God, Arguments for the existence of

H
Hermeneutics

I
Idealism
Identity
Indian Philosophy
Induction
Islamic Philosophy

J
Justice
Justification, Epistemic (โปรดดู Epistemic Justification)

K
Knowledge

L
Legalism
Liberalism
Logic

M
Materialism
Metaethics
Metaphysics

P
Paradoxes
Phenomenology
Philosophy
Philosophy of Education
Philosophy of History
Philosophy of Language
Philosophy of Mind
Philosophy of Religion
Philosophy of Science
Philosophy of Social Science
Philosophy of Technology
Political Philosophy
Postmodernism
Pragmatism

R
Rationalism - Empiricism
Rationality
Realism/ Antirealism
Relativism
Religion and Epistemology
Religion and Morality
Religious Language
Religious Pluralism
Rights

S
Skepticism

T
Teleology
Time
Time Travel
The Problem of Evil
Theory of truth

U
Universal

V
Virtue Ethics

Z
Zen Buddhism
Zeno's Paradoxes

แหล่งที่มา :http://www.philospedia.net/

e-Journal

http://www.aerotronthai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=156461
http://www.thaimeter.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538604108
http://translate.google.co.th/translate?hl=th&langpair=en%7Cth&u=http://www.elsevier.com/wps/product/cws_home/600875

วันจันทร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่7

ห้องสมุดความรู้ : สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ
สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก

พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระบรมราชจักรีวงศ์ กรมราชองครักษ์ มูลนิธิอานันทมหิดล มูลนิธิชัยพัฒนา พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย ทศพิธราชธรรม วัดประจำรัชกาล พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชลัญจกร เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 1
ดวงอาทิตย์ อุปราคา ท้องฟ้ากลางคืน นก ปลา แหล่งกำเนิดพลังงานของดวงอาทิตย์ ประวัติการบินของไทย เครื่องดนตรีไทย
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 2
การจำแนกและจัดลำดับหมวดหมู่ของสัตว์ เวลา บรรยากาศ การตรวจอากาศ อุปกรณ์ขยายขอบเขตของสัมผัส มหาราชในประวัติศาสตร์ไทย การศึกษา กรุงเทพมหานคร ประวัติการไปรษณีย์ไทย
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 3
ข้าว ข้าวโพด ฝ้าย ยางพาราพัฒนาโลก ทรัพยากรป่าไม้ ผลิตผลป่าไม้ การทำไม้ วัชพืช วัวควาย ช้าง
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 4
การเรืองแสงของสิ่งมีชีวิต การทำไม้กลไกของการขจัดของเสียที่เป็นของเหลว การทำไม้ไวรัส ภูมิอากาศของประเทศไทย รถไฟ พระพุทธศาสนา การต่างประเทศต้นสมัยรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ ๑ - รัชกาลที่ ๓) ลำดับพระมหากษัตริย์ไทย
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 5
ผัก ไม้ผล พันธุ์อ้อย มันสำปะหลัง การขยายพันธุ์พืช พันธุ์เป็ด พันธุ์ไก่ พันธุ์ไม้ป่า พันธุ์ไม้มีพิษ
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 6
คณิตศาสตร์เกิดขึ้นได้อย่างไร ประวัติและพัฒนาการเกี่ยวกับจำนวน ตรรกวิทยา ฟังก์ชัน จุด เส้น และผิวโค้ง พื้นที่ เมตริก การเขียนกราฟ คณิตศาสตร์ ธรรมชาติและศิลปะ ผิวโค้ง (Surface)
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 7
กล้วยไม้ ผีเสื้อในประเทศไทย การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม โรคพืช ครั่ง การเลี้ยงปลาในกระชัง การชลประทาน บ้านเรือนของเรา โทรคมนาคม
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 8
ประวัติการแพทย์และเภสัชกรรมไทย กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา การกำเนิดของโรค การบริบาลทารกและโรคทางกุมารเวชศาสตร์ ศัลยศาสตร์และวิสัญญีวิทยา เลือดและธนาคารเลือดในประเทศไทย อุบัติเหตุ การปฐมพยาบาล
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 9

ยาแบ่งตามยุคหรือสมัย การปฏิสนธิและการตั้งครรภ์ วิธีการทางการแพทย์ในการควบคุมการเจริญพันธุ์ การทำแท้ง การสาธารณสุขในประเทศไทย โรคมะเร็ง รังสีวิทยา ฟันและเหงือกของเรา เวชศาสตร์ชันสูตร เวชศาสตร์ฟื้นฟู นิติเวชศาสตร์ โภชนาการ ยาเสพติดให้โทษและวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 10

โรคทางอายุรศาสตร์ โรคติดต่อและโรคเขตร้อน โรคภูมิแพ้ โรคผิวหนังที่พบบ่อยในประเทศไทย โรคตา โรคของหู จิตเวชศาสตร์และสุขภาพจิต สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การปลูกกระดูกข้ามคน
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 11
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ การประยุกต์คอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ สิ่งประดิษฐ์จากพัฒนการด้านคอมพิวเตอร์ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม ผลของการใช้คอมพิวเตอร์ รหัสตัวอักษรไทยที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 12

การแพทย์ การศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การพัฒนาชาวเขาและการเกษตรที่สูง การพัฒนาการเกษตรในชนบท การศึกษาการพัฒนา การสหกรณ์ การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร โครงการตามพระราชดำริด้านการแพทย์ โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 13
เรือนไทย ชีวิตคนชนบทกับชีวิตคนในเมือง หัตกรรมพื้นบ้าน จิตรกรรม นาฏศิลป์ ตุ๊กตาไทย การละเล่นของไทย อาหารไทย การประดิษฐ์ผักและผลไม้ การเลี้ยงกุ้งก้ามกราม ธนาคาร
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 14
พระราชวังในกรุงเทพมหานคร พระราชวังในส่วนภูมิภาค ประติมากรรมไทย อาหารสัตว์ พืชอาหารสัตว์ การปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ ข้าวฟ่าง เทคโนโลยีชีวภาพ สารพิษและสิ่งปนเปื้อนอาหาร สมุนไพร
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 15
ผึ้ง การเลี้ยงผึ้งโพรงไทย ประวัติยาสูบ ไม้สัก ผ้าไทย ชุมชนโบราณบริเวณทุ่งกุลาร้องไห้ ชุมชนโบราณบริเวณรอบอ่าวไทย น้ำเสีย ขยะมูลฝอย มลพิษทางอากาศ ปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับสากล
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 16
การบูรณะวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระไตรปิฎกและการชำระพระไตรปิฎก การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ ศิลาจารึกและการอ่านจารึก สังคมและวัฒนธรรมไทย การผลิตหนังสือ การดนตรีสำหรับเยาวชน การช่างและหมู่บ้านช่าง ดาวเทียมเพื่อการเกษตร
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 17
ช้างเผือก ฉันทลักษณ์ ระบบนิเวศและความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติกับสิ่งมีชีวิต โรคตับอักเสบจากเชื้อไวรัส ของเสียที่เป็นอันตราย การตั้งถิ่นฐานในชนบท ปอแก้วปอกระเจา การปลูกข้าวสาลีในประเทศไทย
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 18
สภาพแวดล้อมกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในประเทศไทย ประเพณีหลวงและประเพณีราษฎร์ การแต่งกายของคนไทย กฎหมายกับสังคมไทย ประวัติการพิมพ์ไทย ภาษาและอักษรไทย ยาฆ่าแมลง การเลี้ยงหมู ระบบการค้าผลิตผลการเกษตร
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 19
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การถนอมผลิตผลการเกษตร ม้า ศิลปะการนับเบื้องต้น ภูมิปัญญาชาวบ้าน เขตอนุรักษ์และพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม แผนพัฒนาเศรษฐกิจ-สิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 20

ศาสนาและระบบความเชื่อของไทย ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับต่างประเทศ จิตรกรรมไทยแบบประเพณี เสียงและมลภาวะทางเสียง เลเซอร์ เซลล์แสงอาทิตย์ อัญมณี เวชศาสตร์การบิน การสร้างเซลล์แสงอาทิตย์ การปลูกถ่ายอวัยวะ
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 21
กระบวนพยุหยาตราชลมารค วีรสตรีในประวัติศาสตร์ชาติไทย ศิลปะการทอผ้าไทย เครื่องถมไทยในปัจจุบัน เครื่องปั้น การตลาดและการส่งออกศิลปหัตถกรรม พฤกษศาสตร์พื้นบ้าน การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ องค์การสหประชาชาติและองค์การในเครือ
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 22
ภาษาศาสตร์ เครื่องถ้วยไทย เครื่องจักสาน ไม้ดอกหอมของไทย เครื่องทุ่นแรงและเครื่องจักรกลเกษตร อาชีวอนามัย ครอบครัวไทย สัตว์ทะเลหน้าดิน ท่าอากาศยาน
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 23
ภูมิปัญญาไทย วัฒนธรรมทางละครไทย (ละครรำ) การละเล่นพื้นเมือง เฟิร์นไทย ไม้ในวรรณคดีไทย(ตอน๑) การผลิตเบียร์ การส่งเสริมภูมิปัญญาไทย
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 24
วรรณคดีมรดก ไม้ในวรรณคดีไทย (ตอน๒) เมืองหลวงเก่าของไทย การผลิตรถยนต์ การผลิตรถจักรยานยนต์ การผลิตปูนซีเมนต์ ปิโตเลียมและการผลิต โรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคติดเชื้ออุบัติซ้ำ แผนพัฒนาประเทศ
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 25
ระบบฐานข้อมูล วิวัฒนาการของไมโครคอมพิวเตอร์ กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ โครงข่ายประสาทเทียม อินเทอร์เน็ต การประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์ แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 26
นิทานพื้นบ้านไทย ห้องสมุดเสียงแห่งแรกของไทย ชุมชน การใช้สื่อประสมส่งเสริมการศึกษา เชื้อเพลิง ยานยนต์ และสิ่งแวดล้อม การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ ส้ม สัตว์ในระบบนิเวศป่าชายเลน หอยเป๋าฮื้อ
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 27
ประวัติของลิเก การบริหารราชการแผ่นดิน ความหมายและความสำคัญของไม้ผลนอกฤดู เทคนิคการปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์ พิษภัยของแอลกอฮอล์ การปฏิวัติทางพันธุกรรม ระบบต่อมไร้ท่อ อันตรายจากรังสี
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 28

วัดไทย ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน ตลาดของไทยพิษภัยของบุหรี่ พลาสติกในชีวิตประจำวัน แผ่นดินไหว คลื่นแผ่นดินไหว คลื่นสึนามิ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์กับสิ่งแวดล้อม
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 29
ศิลปาชีพ พระพุทธรูป การจัดตั้งศูนย์ศิลปาชีพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทองคำ พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของไทย พระพุทธรูปปางต่างๆ
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 30
ศิลปการเห่เรือ หอพระไตรปิฎก ปราสาทขอมในประเทศไทย กฎหมายตราสามดวง ไม้ดอกไม้ประดับ กล้วย ประเภทของปลากัด วัสดุการแพทย์

แหล่งที่มา : http://guru.sanook.com/encyclopedia/

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่6

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นสารานุกรมไทยแบบเป็นชุด เน้นความรู้ที่เกิดขึ้นและใช้อยู่ในประเทศไทย จัดทำโดยคนไทย เพื่อให้คนไทยทุกเพศทุกวัยมีโอกาสได้อ่าน แต่ละเล่มรวบรวมเนื้อเรื่องจากหลากหลายสาขาวิชา เนื้อหาของเรื่องต่างๆ เรียบเรียงให้เหมาะสมกับ ๓ ระดับความรู้ ให้แก่เด็กรุ่นเล็ก เด็กรุ่นกลาง และเด็กรุ่นใหญ่ รวมทั้งผู้ใหญ่ที่สนใจทั่วไป แต่ละเรื่องเริ่มต้นด้วยเนื้อหาของระดับเด็กรุ่นเล็ก ตามด้วยเ นื้อหาของรุ่นกลางและรุ่นใหญ่ตามลำดับ เนื้อหาในแต่ละระดับพิมพ์ด้วยตัวอักษรขนาด
โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ มีอะไรบ้าง?
CD-ROM สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ พ.ศ. ๒๕๕๐ ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ขอเชิญชวนทุกท่านเป็นเจ้าของซีดีรอม สารานุกรมไทยฯ (บรรจุเนื้อหาในสารานุกรมไทยฯ ๓๒ เล่ม) ดังนี้- บรรจุเนื้อหาจากสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ๓๒ เล่ม ทุกเรื่องมี ๓ ระดับความรู้ เหมาะกับทุกเพศทุกวัย - หนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ฉบับกาญจนาภิเษก
หนังสือสารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษกหนังสือสารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๒ สามารถอ่านออนไลน์ ได้จาก สนุก! ความรู้ คลิกที่นี่
โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯเป็นหนังสือที่บรรจุสรรพวิชาไว้ครบทุกแขนง สำหรับอ่านเพื่อเพิ่มพูนความรู้ และอ้างอิงเรื่องต่างๆ ได้ โดยมีผู้เขียนที่เป็นผู้ที่เชี่ยวชาญในสาขาวิชาสนุก! ความรู้ คลิกที่นี่ -->
กล่องความรู้ สารานุกรม สำหรับเว็บไซต์ สำหรับเว็บมาสเตอร์ สามารถนำกล่องความรู้ เรื่องน่ารู้ต่าง ๆ ไปติดที่เว็บไซต์ได้ง่าย ๆ ดูวิธีติดตั้ง สนุก! ความรู้ คลิกที่นี่
"ขุมทรัพย์ทางปัญญา คือสารานุกรมไทยฯ" สำหรับผู้สนใจสั่งซื้อหนังสือสามารถทำได้โดยการโหลดเอกสาร ใบสั่งซื้อหนังสือ และ กรอกข้อความ พร้อมทั้งแนบใบโอนพร้อมที่อยู่ และจำนวนหนังสือ ที่สั่งซื้อ หรือสอบถามเพิ่มเติมที่
โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอาคารโครงการสารานุกรมไทยฯ สนามเสือป่า ถนนศรีอยุธยา เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทร: ๐-๒๒๘๐-๖๕๓๘, ๐-๒๒๘๐-๖๕๔๑,๐-๒๒๘๐-๖๕๘๐ โทรสาร : ๐-๒๒๘๐-๖๕๘๙ E-mail: sara@kanchanapisek.or.th

แหล่งที่มา : http://guru.sanook.com/encyclopedia/

วันจันทร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2553

E-Book

http://www.ilovelibrary.com/book_detail_nologin.php?id=06600003099&group=
http://www.ilovelibrary.com/book_detail_nologin.php?id=06600003117&group=

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 5

สารานุกรมไทย ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี จัดทำขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยประมวลพระราชจริยาวัตร พระราชกรณียกิจ และพระปรีชาสามารถในด้านต่างๆ อันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติและอาณาประชาราษฎร์
พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้
๑. ธรรมิกราชา
๒. พระปรีชาสามารถด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม
๓. เศรษฐกิจพอเพียง
๔. กษัตริย์-เกษตร
๕. พระราชกรณียกิจด้านการแพทย์และการสาธารณสุข
๖. พระปรีชาสามารถด้านการพัฒนาปัญญา
๗. อัครศิลปิน
๘. พระราชกรณียกิจด้านการสืบสานวัฒนธรรมและขนบประเพณี
๙. สังคมสมานฉันท์
หนังสือสารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก
พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๒ มีทั้งหมด ๖๐ เรื่องโดยแบ่งเป็น ๙ หมวด คือ
หมวดที่ ๑ พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจสำคัญ
หมวดที่ ๒ พระราชวงค์
หมวดที่ ๓ องค์กรและส่วนราชการ
หมวดที่ ๔ มูลนิธิ ทุน รางวัล และโรงเรียน
หมวดที่ ๕ พระราชสถานะและพระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญ
หมวดที่ ๖ ราชธรรมและพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับศาสนา
หมวดที่ ๗ พระราชพิธีในรัชกาลปัจจุบัน
หมวดที่ ๘ พระบรมราชสัญลักษณ์และเรื่องราวเกี่ยวข้อง
หมวดที่ ๙ เบ็ตเตล็ด
หนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๑๖ จนถึงปัจจุบัน (สำหรับหนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่ม ๑-๑๒ เลิกผลิตและไม่มีจำหน่ายแล้ว) มีรายละเอียดดังนี้

เล่มที่ ๑ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๑๖ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
ดวงอาทิตย์ อุปราคา ท้องฟ้ากลางคืน นก ปลา เครื่องจักรกล พลังงาน อากาศยาน และ ดนตรีไทย
เล่มที่ ๒ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๑๘ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
การจำแนกและจัดลำดับหมวดหมู่ของสัตว์ เวลา บรรยากาศ การตรวจอากาศ อุตสาหกรรม อุปกรณ์ขยายขอบเขตของสัมผัส มหาราชในประวัติศาสตร์ไทย การศึกษา กรุงเทพมหานคร และ ตราไปรษณียากรไทย
เล่มที่ ๓ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๐ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
ข้าว ข้าวโพด ฝ้าย ยางพารา ทรัพยากรป่าไม้ ผลิตผลป่าไม้ การทำไม้ วัชพืช วัวควาย และ ช้าง

เล่มที่ ๔พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๑ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
การเรืองแสงของสิ่งมีชีวิต การหายใจ ความสมดุลของของเหลวในร่างกาย ไวรัส ปรากฎการณ์ของอากาศ ภูมิอากาศ รถไฟ การศาสนา การต่างประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ และ ลำดับพระมหากษัตริย์ไทย

เล่มที่ ๕ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๓ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
ผัก ไม้ผล อ้อย มันสำปะหลัง พืชหัว การขยายพันธุ์พืช เป็ดไก่ และ พันธุ์ไม้ป่า

เล่มที่ ๖ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๕ มีทั้งหมด ๑๕ เรื่อง คือ
คณิตศาสตร์เบื้องต้น ประวัติและพัฒนาการเกี่ยวกับจำนวน เซต ตรรกวิทยา ฟังก์ชัน สมการและอสมการ จุด เส้น และผิวโค้ง ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตร สถิติ ความน่าจะเป็น เมตริก กราฟ และ คณิตศาสตร์ ธรรมชาติและศิลปะ

เล่มที่ ๗ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๕ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
กล้วยไม้ ผีเสื้อในประเทศไทย การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม โรคพืช ครั่ง การเลี้ยงปลา การชลประทาน บ้านเรือนของเรา และ โทรคมนาคม(ภาคแรก)

เล่มที่ ๘ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๖ มีทั้งหมด ๗ เรื่อง คือ
ประวัติการแพทย์และเภสัชกรรมไทย กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา การกำเนิดของโรค การบริบาลทารกและโรคทางกุมารเวชศาสตร์ ศัลยศาสตร์และวิสัญญีวิทยา เลือดและธนาคารเลือดในประเทศไทย และอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล

เล่มที่ ๙ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๘ มีทั้งหมด ๑๓ เรื่อง คือ
เรื่องของยา สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา วิธีการทางการแพทย์ในการควบคุมการเจริญพันธุ์ การทำแท้ง การสาธารณสุข โรคมะเร็ง รังสีวิทยา ฟันและเหงือกของเรา เวชศาสตร์ชันสูตร เวชศาสตร์ฟื้นฟู นิติเวชศาสตร์ โภชนาการ และ ยาเสพติดให้โทษและวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท

เล่มที่ ๑๐ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๐ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
โรคทางอายุรศาสตร์ โรคติดต่อและโรคเขตร้อน โรคภูมิแพ้ โรคผิวหนังที่พบบ่อยในประเทศไทย โรคตา โรคหู คอ จมูก จิตเวชศาสตร์และสุขภาพจิต สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ และ การปลูกกระดูกข้ามคน

เล่มที่ ๑๑ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๑ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ระบบการสั่งงานของคอมพิวเตอร์ การประยุกต์คอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ สิ่งประดิษฐ์จากพัฒนการด้านคอมพิวเตอร์ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม ผลของการใช้คอมพิวเตอร์ และ พัฒนาการอักษรไทยในเครื่องคอมพิวเตอร์

เล่มที่ ๑๒ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๑ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
การแพทย์ การศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การพัฒนาชาวเขาและการเกษตรที่สูง การพัฒนาการเกษตรในชนบท การศึกษาการพัฒนา การสหกรณ์ การพัฒนาแหล่งน้ำ การพัฒนาปัจจัยการผลิต และ แผนที่

เล่มที่ ๑๓พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๒ มีทั้งหมด ๑๑ เรื่อง คือ
เรือนไทย ชีวิตชนบท หัตกรรมพื้นบ้าน จิตรกรรมไทย นาฏสิลป์ไทย ตุ๊กตาไทย การละเล่นของไทย อาหารไทย การประดิษฐ์ผักและผลไม้ การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม และ ธนาคาร

เล่มที่ ๑๔พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๓ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
พระราชวังในกรุงเทพมหานคร พระราชวังในส่วนภูมิภาค ประติมากรรมไทย อาหารสัตว์ พืชอาหารสัตว์ การปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ ข้าวฟ่าง เทคโนโลยีชีวภาพ สารพิษและสิ่งปนเปื้อนอาหาร และ สมุนไพร

เล่มที่ ๑๕ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๔ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
ผึ้ง การเลี้ยงผึ้งโพรงไทย ยาสูบ ไม้สัก ผ้าไทย ชุมชนโบราณในเมืองไทยจากหลักฐานภาพถ่ายทางอากาศ น้ำเสีย ขยะมูลฝอย มลพิษทางอากาศ และปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับสากล

เล่มที่ ๑๖ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๕ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
การบูรณะวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระไตรปิฎกและการชำระพระไตรปิฎก การอนุรักษณ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ ศิลาจารึก และการอ่านจารึก สังคมและวัฒนธรรมไทย การผลิตหนังสือ การดนตรีสำหรับเยาวชน การช่างและหมู่บ้านช่าง ดาวเทียมเพื่อการเกษตร และ การฟื้นฟูสมรรถภาพเยาวชนผู้พิการทางด้านการศึกษา

เล่มที่ ๑๗ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๖ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
ช้างเผือก ฉันทลักษณ์ไทย ระบบนิเวศและความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติกับสิ่งมีชีวิต โรคตับอักเสบจากไวรัส ของเสียที่เป็นอันตราย การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ปอแก้วปอกระเจา พืชเส้นใย การปรับปรุงพันธุ์พืช และ ข้าวสาลี

เล่มที่ ๑๘ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๗ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
สภาพแวดล้อมกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในประเทศไทย ประเพณีหลวงและประเพณีราษฎร์ การแต่งกายของคนไทย กฎหมายกับสังคมไทย ประวัติการพิมพ์ไทย ภาษาและอักษรไทย ยาฆ่าแมลง ดินและปุ๋ย การเลี้ยงหมู และ ระบบการค้าผลิตผลการเกษตร

เล่มที่ ๑๙พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๘ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พืชน้ำมัน การถนอมผลิตผลการเกษตร ม้า แมลง เครื่องมือ ทางการแพทย์ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ศิลปะการนับเบื้องต้น ภูมิปัญญาชาวบ้าน และ สารกึ่งตัวนำ

เล่มที่ ๒๐ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๘ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
ศาสนาและระบบความเชื่อในประเทศไทย ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับต่างประเทศ จิตรกรรมไทยแบบประเพณี เสียงและมลภาวะทางเสียง เลเซอร์ เซลล์แสงอาทิตย์ อัญมณี เวชศาสตร์การบิน ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือโรคเอดส์ และ การปลูกถ่ายอวัยวะ

เล่มที่ ๒๑ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๙ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
ขบวนพยุหยาตรา วีรสตรีไทย ศิลปะการทอผ้าไทย เครื่องถม เครื่องปั้น การตลาดและการส่งออกศิลปหัตถกรรม พฤกษศาสตร์พื้นบ้าน การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และ องค์การสหประชาชาติและองค์การในเครือ

เล่มที่ ๒๒ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๐ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
ภาษาศาสตร์ เครื่องถ้วยไทย เครื่องจักสาน ไม้ดอกหอมของไทย เครื่องทุ่นแรงและเครื่องจักรกลเกษตร อาชีวอนามัย ครอบครัวไทย สัตว์ทะเลหน้าดิน และ ท่าอากาศยาน
เล่มที่ ๒๓ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๑ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
ภูมิปัญญาไทย วัฒนธรรมทางละครไทย (ละครรำ) การละเล่นพื้นเมือง ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย ชาติพันธุ์ เฟิร์นไทย ไม้ในวรรณคดีไทย(ตอน๑) การทำงานใต้น้ำ ระบบวิทยุ และ การผลิตเบียร์
เล่มที่ ๒๔ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๒ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
วรรณคดีมรดก ไม้ในวรรณคดีไทย (ตอน๒) เมืองหลวงเก่าของไทย การผลิตรถยนต์ การผลิตรถจักรยานยนต์ การผลิตปูนซีเมนต์ ปิโตเลียมและการผลิต โรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคติดเชื้ออุบัติซ้ำ และ แผนพัฒนาประเทศ
เล่มที่ ๒๕ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๔ มีทั้งหมด ๘ เรื่อง
ซอฟต์แวร์พื้นฐานสำหรับสำนักงาน ระบบฐานข้อมูล วิวัฒนาการของไมโครคอมพิวเตอร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ โครงข่ายประสาทเทียม อินเทอร์เน็ต การประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์ และ แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในต้นศตวรรษที่ ๒๑
เล่มที่ ๒๖ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๕ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
นิทานพื้นบ้านไทย ห้องสมุดเสียงแห่งแรกของไทย ชุมชน การใช้สื่อประสมส่งเสริมการศึกษา เชื้อเพลิง ยานยนต์ และสิ่งแวดล้อม การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ ส้ม สัตว์ในระบบนิเวศป่าชายเลน และ หอยเป๋าฮื้อ
เล่มที่ ๒๗ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๖ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ลิเก การบริหารราชการแผ่นดิน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เทคนิคการผลิตไม้ผลนอกฤดู ไฮโดรพอนิกส์ พิษภัยของแอลกอฮอล์ ผู้สูงอายุ พลังงานนิวเคลียร์ และ การปฏิวัติทางพันธุกรรม
เล่มที่ ๒๘ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๗ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
วัดไทย ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน ตลาด ทุเรียน เทคโนโลยีชีวภาพทางการเษตร พิษภัยของบุหรี่ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ พลาสติกกับชีวิตในปัจจุบัน และ แผ่นดินไหว
เล่มที่ ๒๙ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๘ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ศิลปาชีพ พระพุทธรูป การผลิตทองรูปพรรณ อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย สวนพฤกษาศาสตร์ เงินตรา ปลาสวยงาม ธาลัสซีเมีย และ การดูแลสุขภาพที่บ้าน
เล่มที่ ๓๐ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๘ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ศิลปการเห่เรือ หอพระไตรปิฎก ปราสาทขอมในประเทศไทย กฎหมายตราสามดวง ไม้ดอกหอมของไทย กล้วย ปลากัด คลื่นสึนามิ และ วัสดุการแพทย์
เล่มที่ ๓๑ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ตู้พระธรรม วัดญวณในประเทศไทย วรรณคดีท้องถิ่น พรรคการเมืองไทย การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ซากดึกดำบรรพ์ในประเทศไทย ดาวหาง ระบบสุริยะ และ อัลไซเมอร์
เล่มที่ ๓๒ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๑ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ตาลปัตร พัดยศ และสมณศักดิ์ หุ่นกระบอก หนังสือโบราณของไทย สิทธิมนุษยชน เส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศ ชีวสนเทศศาสตร์ การยศาสตร์ นาโนเทคโนโลยี และ โรคออทิซึม
เล่มที่ ๓๓ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๑ มีทั้งหมด ๘ เรื่อง
สุนทรภู่ เพลงลูกทุ่ง คลอง วิวัฒนาการของมนุษย์ เซลล์เชื้อเพลิง เปลือกโลกและหิน อาหารกับโรคเรื้อรัง และ การแพทย์แผนไทย โรคออทิซึม
เล่มที่ ๓๔ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๒ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เพลงพื้นบ้าน เครื่องประดับ หอยในประเทศไทย บริการธนาคารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พายุและฝนในประเทศไทย โรคพาร์กินสัน และ โรคฉี่หนู
แหล่งที่มา : http://kanchanapisek.or.th/kp6/GENERAL/encyclopedia/saranugrom.htm

วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 4

แนะนำหนังสืออ้างอิง

แนะนำหนังสือสารานุกรม

ของใช้พื้นบ้านของไทย
ผู้เขียน สุภกานต์ รัตนาพันธุ์ ราคาเล่มละ 30 บาท

"ความหมายสารานุกรม"
สารานุกรมจะมีมีคำภาษาอังกฤษใช้อยู่สามคำ คือ Cyclopedia, Enclopedia, และ Enclopaediaสามคำนี้ใช้ในความหมาย เดียวกัน สำหรับคำแรกในระยะหลัง ๆ นี้ไม่ค่อยใช้กันมากนัก ตรงข้ามกับคำที่สองซึ่งนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย สารานุกรม คือ หนังสือที่รวบรวมความรู้อันเป็นพื้นฐานในทุกขาสาวิชารวบรวมความรู้ในสาขา วิชาใดวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ แล้วนำมาเรียบเรียงไว้ตามลำดับอักษร เหมะที่จะทำการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ความรู้ที่ได้จากหนังสือสารานุกรม ใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง ที่มีความน่าเชื่อถือสูง

"ความสำคัญของสารานุกรม "
หนังสือสารานุกรมเป็นหนังสืออ้างอิงที่สำคัญที่มีความสำคัญในฐานะที่ เป็นแหล่งบันทึกภูมิปัญญา ของมวลมนุษยชาติตั้งแต่อดีต มาจนถึงปัจจุบัน ครอบคลุมศาสตร์ทุกแขนงวิชา มีการรวบรวมอย่างมีระบบ จึงได้กลายเป็นแหล่งอ้างอิงที่ครอบจักรวาล สำหรับอนุชนรุ่นหลัง เพื่อศึกษาค้นคว้าหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความพื้นขั้นพื้นฐานในแขนงวิชาต่าง ๆ นำไปสู่การค้นคว้าหาข้อเท็จจริงอย่างลึกซึ้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อย่างต่อเนื่อง จนทำให้มีผลในการพัฒนาการใหม่ ๆ ในสังคมยุคปัจจุบัน ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น สารานุกรมจึงได้กลายเป็นเครื่องมือที่สำคัญ

ในการบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้าของบรรณารักษ์แผนกอ้างอิง เป็นเวลายาวนานเกินกว่าหนึ่งศวตวรรษ และปัจจุบันเป็นที่ยิมรับกันว่า สารานุกรมเป็นกรดูกสันหลังของงานบริการอ้างในห้องสมุดทุกประเภทเลยทีเดียว

"ลักษณะเฉพาะของสารานุกรม" เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้เกิดความภาคภูมิใจในความสามารถของบรรพบุรุษในการ สร้างงานศิลปะ จากภูมิปัญญาที่คอดแบบผสมผสาน การนำวัตถุดิบพื้นบ้านที่หาได้ในแต่ละท้องถิ่นของภาคต่าง ๆ ในประเทศ มาประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ได้อย่างมีศิลปะ ถึงแม้ว่าเครื่องเครื่องใช้ เหล่านี้จะเป็นเพียงของใช้พื้นบ้านที่ชาวบ้านธรรมดาใช้กัน แต่ก็มีคุณค่ามากมายในตัวมันเอง

สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์ ได้กล่าวถึงลักษณะเฉพาะของสารานุกรมไว้ ดังนี้

1. สารานุกรมมีทั้งชนิดเล่มเดียวจบ และชนิดเป็นชุดหลายเล่มจบ ถ้าเป็นชุดหลายเล่มจะแจ้งไว้ที่สันว่า อักษรใดถึงอักษรใด เพื่อให้ค้นได้สะดวก
2. สารานุกรมทั้งขั้นอ่านยากสำหรับผู้มีความรู้สูง และขั้นอ่านง่ายสำหรับเยาวชน หรือผู้ที่มีความรู้ระดับปานกลาง ถ้ายากทราบสารานุกรมขั้นใดก็อ่านได้จากคำนำ
3. สารานุกรมประกอบด้วยบทความทางวิชาการด้านต่าง ๆ โดยการจัดเรียงลำดับตามตัวอักษร
4. มีชื่อเต็มหรืออักษรย่อของผู้เขียนบทความกำกับไว้ที่ท้ายเรื่องทุกเรื่อง
5. มีภาพประกอบบทความบางเรื่อง
6. สารานุกรมต่างประเทศส่วนมากมีบรรณานุกรม คือ รายชื่อหนังสือ หรือเอกสารอื่น ๆ ใช้ค้นคว้าเรียบเรียง บทความเรื่องนั้น ๆ โดยจัดไว้ท้ายบทความแตาละเรื่อง
7. มีดรรชนีค้นคว้าเรื่องย่อย ๆ ในเล่ม สารานุกรมบางชุดมีดรรชนีแยกเล่มไว้ ต่างหาก ลมุล รัตตากร ได้กล่าวถึงลักษณะเฉพาะ ของสารานุกรม ดังนี้
7.1 สารานุกรมเป็นหนังสือที่เขียน โดยผู้เชี่ยวชาญในหลายสาขาวิชา
7.2 สารานุกรมจะได้รับการปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยอยู่เสมอ
7.3 สารานุกรมอาจจะจบในเล่มเดียวหรืออาจจะเป็นชุด ชุดละตั้งแต่สองเล่มขึ้นไป จนถึง 20-30 เล่มก็มี
7.4 สารานุกรมต่างประเทศจะมีการปรับปรุงเนื้อหาทุก ๆ ปี
7.5 สารานุกรมต่างประเทศบางชุดจะมีฉบับเพิ่มเติมเหตุการณ์ในปีที่ผ่านมาแล้วแต่ ละปี ๆ
7.6 สารานุกรมมักมีรูปภาพ แผนที่ ตารางและอื่น ๆ อันจะช่วยให้ความเข้าใจในเนื้อหา

แหล่งที่มา : http://lib.kru.ac.th/eBook/1631303/encyclo.html

วันเสาร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

OPAC

Opac โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 3

วิธีใช้ สารานุกรม
สารานุกรมทุกชนิดจะเรียงลำดับตามตัวอักษรของเนื้อเรื่องทุก ๆ บทความ และมีส่วนต่างๆ ที่ช่วยให้เราค้นหาเรื่องที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว คือ
1. มี VOLUME GUIDE คือตัวแนะหรือตัวช่วยค้น
2. มีดรรชนีช่วยในการค้นหาเรื่องที่เราต้องการ มักจะอยู่ท้ายเล่มของทุกเล่ม หรือมี ดรรชนีรวมอยู่เล่มสุดท้ายของชุด
3. บทความหรือหัวข้อเรื่องที่มีชื่อประกอบหลายคำให้ใช้คำแรกเป็นหลัก
4. หัวเรื่องที่มีคำย่อให้ดูที่คำเต็ม เช่น Mt. Everest ให้ดูที่ Mount Everest
5. สำหรับสารานุกรมภาษาอังกฤษเมื่อต้องการหาเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลให้ดูที่ชื่อสกุลหรือชื่อสุดท้ายเป็นหลัก

ความสำคัญของหนังสือสารานุกรม
ความรู้ในวิชาการตลอดจนเรื่องราวข่าวสารข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับปรากฏการณ์ ธรรมชาติ และข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยพฤติกรรมของมนุษย์นั้นเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดพัฒนาการในตัวคน และสังคม วิชาการเป็นทรัพย์สินทางปัญญามนุษยชาติ เป็นแหล่งทรัพยากรที่ใช้ไม่หมดสิ้นยิ่งใช้ก็ยิ่งเพิ่มพูน พัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่สมัยแรกเริ่มมาจนถึงปัจจุบันได้อาศัยทรัพย์สินทาง ปัญญาที่บรรพชนสร้างไว้ และบันทึกไว้ เป็นมรดกตกทอดถึงชนในรุ่นปัจจุบัน หนังสือสารานุกรมเป็นหนังสือซึ่งรวมวิชาความรู้ และเรื่องราวต่างๆ ที่มนุษย์เรียนรู้และได้คิดสร้างสรรค์ไว้ทั้งหมดจึงนับเป็นคลังทรัพย์สินทาง ปัญญา ที่บริบูรณ์ในตัวเอง เปิดโอกาสให้ผู้ใฝ่รู้สามารถอ่านเพื่อแสวงหา ความรู้ด้วยตนเองได้ทุกเวลาตามความสามารถของตน เหมือนห้องสมุดขนาดเล็กที่เคลื่อนย้ายได้ตามผู้เป็นเจ้าของ ความรู้ในหนังสือสารานุกรมที่สร้างขึ้นใน แต่ละยุคแต่ละสมัยจะทันสมัยที่สุดสำหรับยุคนั้นๆ
นอกจากจะเป็นคลังทรัพย์สินทางปัญญาของมนุษย์แล้ว หนังสือสารานุกรมยังมีส่วนในการสร้างและพัฒนาวิธีการจัดระบบความรู้ต่างๆ มีการจัดหมวดหมู่ความรู้ เรียงลำดับความสำคัญของความรู้ ชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ การสร้างคำแทนเนื้อเรื่อง และการเลือกคำสำคัญที่มีอยู่ในเรื่องแต่ละเรื่องมาจัดทำเป็นดัชนีค้นเรื่อง ท้ายเล่มหรือในเล่มสุดท้ายของชุดทั้งเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นหาเรื่อง ที่ต้องการ วิธีการเหล่านี้เป็นต้นเค้าส่วนหนึ่งของวิชาบรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ในปัจจุบัน
ปัจจุบันนี้ สารานุกรมเป็นหนังสืออ้างอิงซึ่งห้องสมุดทุกแห่งจำเป็นต้องมี ผู้สนใจใฝ่หาความรู้บางคนที่มีกำลังทรัพย์พอจะซื้อไว้เป็นของตนก็จะซื้อไว้ เพราะจะค้นหาเรื่องราวที่ต้องการได้เกือบทุกเรื่องในเวลาจำกัด หนังสือสารานุกรมในปัจจุบันมีมากมายหลายประเภท หลายรูปแบบมีทั้งสำหรับเด็กและสำหรับผู้ใหญ่ และมีหนังสือสารานุกรมทั่วไป และสารานุกรมเฉพาะวิชา

แหล่งที่มา : http://guru.sanook.com

วันพฤหัสบดีที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 2

ประวัติและวิวัฒนาการของสารานุกรม

จากการสำรวจพบว่าหนังสือที่รวบรวมความรู้มีต้นกำเนิดตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๓๐ ก่อนคริสตกาลโดยได้มีผู้รวบรวมเนื้อหา
ความรู้ทั้งทางด้านปรัชญา ศิลปะ และความเข้าใจต่อสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติ รวบรวมเป็นหนังสือ ซึ่งหนังสือรวมความรู้ในยุคนั้นได้
สูญหายไปเกือบหมดแล้ว มีเพียงบางส่วนที่ยังหลงเหลือมาถึงปัจจุบันหนังสือรวมความรู้ที่เก่าแก่และคงความสมบูรณ์ไว้มากที่สุด
คือ Historia Naturalis ซึ่งมีต้นกำเนิดในช่วงปี ค.ศ.๗๗ โดยนักเขียนชาวโรมัน ชื่อ Pliny the Elder อ้างอิงข้อมูลจาก
Encycloprdia – MSN Encarta

ยุคต่อมาช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๕ จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ โดยยุคนี้เป็นยุคฟื้นฟูของการศึกษาอารยธรรมและภาษาโบราณ
(Renaissance) ทำให้หนังสือรวมความรู้ในยุคนี้ มีการบรรยายเนื้อหาด้วยภาษา ที่มีทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง หนังสือที่มีความ
สำคัญมากที่สุดของยุคนี้ คือ Speculum majus (Great Mirror) ซึ่งถูกรวบรวมขึ้นจากงานเขียนของผู้เชี่ยวชาญกว่า ๔๕๐ คน
โดยนักบวชในศริสตศาสนาชื่อ Vincent of Beauvais เมื่อช่วงกลาง ของคริสต์ศตวรรษที่ ๑๓ โดยหนังสือชุดนี้ ยังก่อให้เกิด
ความสนใจ ต่อการศึกษาด้านวรรณคดีโบราณอีกด้วย (Encyclopedia – MSN Encarta)

สารานุกรมบริเตนนิกา (Encyclopedia Britannica) เป็นหนังสือชุดแรกที่เป็นสารานุกรมอย่างแท้จริงถูกตีพิมพ์ขึ้นครั้งแรก
เป็นภาษาอังกฤษที่เมืองเอดินเบิร์ก (Edinberg) ประเทศสกอตแลนด์ เมื่อปี ค.ศ. ๑๗๖๘–๑๗๗๑ สารานุกรมบริเตนนิกาเป็น
สารานุกรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกซึ่งเขียนและเรียบเรียงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา ซึ่งเป็นสารานุกรมที่ได้รับความนิยม
จากผู้ใช้งานได้ตีพิมพ์ออกมาอีกหลายครั้ง (edition) สารานุกรมบริเตนิกา เป็นต้นแบบในการจัดทำสารานุกรมในยุคต่อๆ มา
เพราะหลังจากที่สารานุกรมบริเตนนิกาถูกเผยแพร่ได้มี สารานุกรมรูปแบบเดียวกันเกิดขึ้นอีกมากมาย ซึ่งในปัจจุบันสารานุกรม
บริเตนนิกา มีการตีพิมพ์บทความมากกว่า ๐๐,๐๐๐ บทความ (
อ้างอิงข้อมูลจากสารานุกรมวิกิพีเดีย) ตัวอย่างสารานุกรม
บริเตนิกาในยุคแรกอย่างสารานุกรมบริเตนนิกา ณ หอสมุดของมหาวิทยาลัยแห่ง Groningen ประเทศเนเธอร์แลนด์
และตัวอย่างสารานุกรมบริเตนนิกา ปี ค.ศ. 2007 (พ.ศ. ๒๕๕๐)ในรูปแบบซีดีดังรูปสารานุกรมบริเตนนิกาปี ค.ศ. 2007 ดังนี้

ตัวอย่างสารานุกรมบริเตนนิกาในยุคแรก

 

สารานุกรมบริเตนนิกา ณ หอสมุดของมหาวิทยาลัยแห่ง Groningen ประเทศเนเธอร์แลนด์

 

สารานุกรมบริเตนนิกา ปี ค.ศ. 2007 (พ.ศ.๒๕๕๐) ในรูปแบบซีดี

 

สารานุกรมอเมริกานา ของประเทศสหรัฐอเมริกาเกิดขึ้น เมื่อปี ค.ศ. 1829-ค.ศ. 1833 (พ.ศ. ๒๓๗๒–พ.ศ. ๒๓๗๖) เป็น
สารานุกรมที่เขียนและเรียบเรียงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาเช่นเดียวกับสารานุกรมบริเตนนิกา ซึ่งสารานุกรมอเมริกาได้มีการ
ตีพิมพ์มากกว่า
๐๐,๐๐๐ บทความ โดยแสดงรูปตัวอย่างสารานุกรมอเมริกาในยุคแรก ส่วนประเทศไทยมีสารานุกรมเกิดขึ้น
เป็นเล่มแรกของประเทศไทยมีชื่อว่า “สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน” ซึ่งฉบับล่าสุด (ปี ๒๕๕๐) มีการตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ.
๒๕๔๙ เป็นเล่มที่ ๒๖ โดยรูปตัวอย่างสารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน” ในยุคแรกแสดงดังรูปตัวอย่างสารานุกรมไทย
ฉบับราชบัณฑิตยสถานในยุคแรก

ตัวอย่างสารานุกรมอเมริกานาในยุคแรก

 

ตัวอย่างสารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานในยุคแรก

 

วิวัฒนาการย่อของสารานุกรมตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

สารานุกรมยุคปัจจุบันได้ถูกปรับปรุงไปตามวิวัฒนาการทั้งด้านเนื้อหา ที่มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้นและรูปแบบในการ
เผยแพร่ที่แตกต่างกันออกไป ปัจจุบันสารานุกรมถูกเผยแพร่อย่างแพร่หลาย ในรูปแบบของหนังสือสารานุกรม ซีดีสารานุกรม
และเว็บไซต์สารานุกรมเพื่อให้ ผู้อ่านสามารถเลือกใช้งานได้เหมาะสม และสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายสะดวกและรวดเร็ว
มากกว่าในอดีต ภาพรวมของการสำรวจข้อมูลสารานุกรมดังกล่าวทั้งหมด สามารถสรุปรวมในรูปของวิวัฒนาการย่อของ
สารานุกรมนำเสนอในรูปวิวัฒนาการย่อของสารานุกรม ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

แหล่งที่มา : http://www.thaitelecomkm.org/TTE/News/a_Biography_and_Evole/index.php

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 1

สารานุกรม คือเรื่องคัดย่อที่ถูกเขียนขึ้นสำหรับการรวบรวมความรู้ เป็นคำสมาสจากคำว่า"สาร"และ"อนุกรม" กล่าวคือเป็นความรู้ที่เป็นเรื่องราวถูกจัดเรียงในลำดับ จะมีทั้งประเภทความรู้ทั่วไป และความรู้เฉพาะด้านเช่น สารานุกรมการเกี่ยวกับการแพทย์ คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือ จัดทำเพื่อจุดประสงค์เฉพาะ เช่น สารานุกรมสำหรับเยาวชน

สารานุกรมที่เป็นที่รู้จักกันดีได้แก่ สารานุกรมบริเตนนิกา (Encyclopædia Britannica) สารานุกรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่มีการตีพิมพ์ [1] ตีพิมพ์ฉบับแรกในภาษาอังกฤษในช่วงปี พ.ศ. 2311-2314 (ค.ศ. 1768–1771) ในเมืองเอดินบะระ สกอตแลนด์ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการตีพิมพ์และจำหน่ายในฉบับซีดี

สารานุกรมสามารถเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องทั่วไป ดังที่ปรากฏในสารานุกรมที่มีชื่อเสียง สารานุกรมบริเตนนิกาในภาษาอังกฤษและสารานุกรมบร็อกเฮาส์ (Brockhaus)ในภาษาเยอรมัน หรือสารานุกรมอาจจะเป็นเรื่องราวเฉพาะทางเช่น สารานุกรมเกี่ยวกับ การแพทย์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา หรืออาจจะเป็นสารานุกรมที่ครอบคลุมเนื้อหาในแต่ละภูมิภาค ประเทศ หรือกลุ่มชน และขณะที่บางสารานุกรมจัดทำขึ้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย เช่นสารานุกรมสำหรับเยาวชน ที่จะมีเนื้อหาที่อ่านง่าย และเข้าใจง่าย สารานุกรมจะใช้การจัดเรียงหัวข้อ 2 ลักษณะ คือ เรียงตามอักขระ และ เรียงตามกลุ่มเนื้อหา ในยุคปัจจุบันมีการพัฒนาของเทคโนโลยีได้มีการนำสารานุกรมมาจัดเก็บในรูปแบบใหม่รวมถึงการจัดเรียงลำดับข้อมูล ดังตัวอย่างเช่นโครงการวิกิพีเดีย และ เอชทูจีทู (h2g2) เพื่อให้การใช้งานสารานุกรมง่ายต่อการใช้

สารานุกรมเป็นคำสมาสจากคำ สาร และ อนุกรม มีความหมายรวมว่า สาระ หรือ เรื่องราว ซึ่งมีการจัดเรียงเป็นลำดับ หมวดหมู่ คำว่าสารานุกรมในภาษาอังกฤษ คือ Encyclopedia หรือ Encyclopædia ซึ่งมีที่มาจากภาษากรีก εγκύκλιος παιδεία (enkyklios paideia; "in a circle of instruction") จากคำว่า εγκύκλιος หมายถึง circuit shaped. โดย κύκλος หมายถึง circuit และ παιδεία หมายถึง instruction. คำว่า Encyclopedia นี้บางครั้งก็ใช้ว่า Cyclopaedia ซึ่งให้ความหมายเหมือนกัน

ในประเทศไทยมีโครงการจัดทำ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฉบับกาญจนาภิเษก โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ที่มีลักษณะคล้ายสารานุกรม

แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1